กดเพื่อดูตัวอย่างหนังสือ รหัสวิริยะ 1172
ความรู้ทั่วไป
วิปัสสนากรรมฐานเป็นของเก่า
การกำหนดท้องพองยุบคืออานาปานสติ
วิปัสสนากรรมฐาน ต้องทิ้งตำราวิชาการ ทิ้งทิฐิ ไม่รู้ล่วงหน้า
วิปัสสนึก
อยากเรียนรู้ถามหญิงคันหูก อยากทำถูกถามเด็กเลี้ยงควายฯ
การศึกษาภาคปฏิบัตินี่ยากมาก ไม่ต้องวิจัย ประเมินผล ให้เกิดขึ้นเอง
ปฏิบัติกรรมฐานต่อเนื่อง ๗ วัน ๗ คืน ได้รับผลแน่
การปฏิบัติอย่าเอาหลายอย่างมาปนกันจะสับสน
ทำกรรมฐานยังไม่ได้ ให้สวดพุทธคุณ ธรรมคุณ สังฆคุณ พาหุง มหากา ก่อน
การงานคือกรรมฐาน
เชื่ออะไร ร้ายที่สุดในโลกมนุษย์
กินน้อย นอนน้อย พูดน้อย ทำความเพียรให้มาก
ปฏิบัติธรรมกี่วันจึงจะสำเร็จ
วันนี้เพลียมากไม่ต้องสวดมนต์ ไม่ต้องภาวนา อย่างนี้ใช้ไม่ได้
มาปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน จัดว่าเป็นนักบวช
เสียสละความทุกข์ที่อยู่ในจิตใจ
ของดีอยู่ที่โยม เอาไปให้ได้
ทำกรรมฐานอย่ามาทำจิ้ม ๆ จ้ำ ๆ อยู่บ้านต้องทำที่บ้านด้วย
พุทธะไม่ใช่หญิง ไม่ใช่ชาย
การเจริญกุศลภาวนาต้องการให้ผุดขึ้นมาเอง
มานั่งกรรมฐานเพื่อให้เห็นตัวเอง
คนมีสติคือคนที่เจริญกรรมฐาน ผีไม่เข้า เจ้าไม่สิง
คนเป็นโรคประสาทเกินกำหนด นั่งสมาธิไม่ได้
คนที่เจริญกรรมฐานได้ชื่อว่าเป็นญาติในพระศาสนา
อย่าหมิ่นประมาทต่อพระกรรมฐาน
มานั่งกรรมฐานต้องละทิฐิมานะ ตัดปลิโพธกังวล
การละปลิโพธ
วิปัสสนาไม่มีสำเร็จ ต้องทำไปเรื่อย ๆ
ปฏิบัติธรรมทดแทนน้ำนมแม่ได้
คนไร้บุญวาสนาช่วยยาก
สร้างความดีต้องลงทุนความลำบาก
บวชเนกขัมมะ ไม่ใช่บวชชีพราหมณ์
หนอ...นี่เป็นคำของพระพุทธเจ้าแท้
แก้ปัญหาไม่ยากเลย ต้องแก้ตัวเองก่อน
ปฏิบัติธรรมใครทำ ใครได้
การเจริญกรรมฐานเป็นการสอนตัวเอง
กรรมฐานทำทุกวัน ให้เสมอต้นเสมอปลาย
ด่าพ่อ ด่าแม่มาเจริญกรรมฐาน ไม่ได้ผล ต้องถอนคำพูด ขอสมาลาโทษเสีย
กรรมฐานเบื้องต้น สติปัฏฐาน ๔ สำหรับผู้ปฏิบัติ
ธุระในพระพุทธศาสนา
กรรมฐานมี ๒ ประเภท
วิปัสสนากรรมฐานคืออะไร
วิธีการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานเบื้องต้น
สติปัฏฐาน ๔ กาย เวทนา จิต ธรรม สำหรับผู้ปฏิบัติ
ยืนหนอ ๕ ครั้ง การกำหนด เวทนา จิต และธรรม
ยืนหนอ ไม่ต้องชิดเท้า ให้เอามือไพล่หลัง มือขวาจับมือซ้ายตรงกระเบนเหน็บ
ยืนหนอ ต้องหลับตา ใช้สติกำหนด วาดมโนภาพ
ยืนหนอ ต้องใช้จิตปักที่กระหม่อม ไม่ต้องดูลมหายใจ
ยืนหนอ วิธีปฏิบัตินี้ทำยาก ต้องทำให้ได้จังหวะ ได้ระบบของเขา อย่าไปว่าติดกัน
ยืนหนอ ไม่ใช่ว่าแต่ปาก ต้องใช้สติอยู่กับจิต ทำให้ได้จังหวะ
ยืนหนอ ๕ ครั้งกับลมหายใจเข้า ลมหายใจออก (อัสสาสะ ปัสสาสะ)
ยืนหนอ กว่าอาตมาจะทำได้ ๑๐ ปี
ยืนหนอจิตเราถากไปทางซ้าย ทางขวา (ไม่รู้สึก) ทำอย่างไร
ยืนหนอให้ได้ เห็นหนอให้ได้ พองหนอยุบหนอได้ อย่างอื่นไหลมาเอง
เดินจงกรม การกำหนด เวทนา จิต และธรรม
เดินจงกรมต้องลืมตา ให้เพ่งมองที่ปลายเท้า
เดินจงกรมเหมือนเราเดินปกติ ธรรมดา เพียงเอาสติใส่เข้าไป
เดินจงกรมให้ช้าสุด เหมือนคนใกล้ตาย
เดินจงกรมให้ส้นสูงจากพื้น ๒ หรือ ๑ นิ้ว ระยะก้าวในการเดินประมาณ ๑ คืบ
การกลับต้องกลับ ๔ ครั้ง ระยะทางในการเดินจงกรมเพียง ๔-๕ วาเท่านั้น
กำหนดได้ปัจจุบัน ไม่ได้ปัจจุบัน
ขาไม่ดี เดินจงกรมไม่ได้ ทำอย่างไร
เดินจงกรมมีอาการหวิว เวียนศีรษะ ให้หยุดเดิน และกำหนด
เดินจงกรมมีเวทนา หยุดเดิน เอาจิตปักที่เกิดเวทนา กำหนดเวทนา
ขณะเดินจงกรมจิตออกไปข้างนอก ให้หยุดเดิน และกำหนด
เดินจงกรม มีเสียง มีเวทนา ปวดเมื่อย หยุดเดิน ยืนกำหนด
เดินจงกรม นิมิตเกิด หยุดเดิน ให้กำหนดตั้งสติไว้ที่หน้าผาก
อานิสงส์การเดินจงกรม
นั่งสมาธิ การกำหนดเวทนา จิต และธรรม
เดินจงกรมแล้วต้องนั่งสมาธิติดต่อกัน
เหมือนด้ายกลุ่มออกจากลูกล้ออย่าให้ขาดสาย
นั่งสมาธิ จะนั่งสองชั้น ชั้นเดียว หรือ ขัดสมาธิเพชรก็ได้
พองหนอยุบหนอ หายใจยาว ๆ ให้สังเกตที่ท้อง
กำหนด พองเป็นยุบ ยุบเป็นพอง แก้อย่างไร
พองหนอยุบหนอแล้ว อึดอัด กำหนดพอง...ไม่ทันหนอ...ยุบแล้ว
ใช้มือคลำแล้ว ไม่เห็นพองยุบ
เดี๋ยวพองหนอ ยุบหนอ เดี๋ยวพุทโธ ทำอย่างไร
ง่วงนอน กำหนดที่ไหน
เกิดเวทนาต้องหยุดพองยุบ เอาจิตปักไว้ตรงที่เกิดเวทนา และกำหนด
นั่งแล้วผงก โงกไป โงกมา
วูบ ศีรษะโขกลงไป กระสับกระส่าย โยกคลอน
ศีรษะก้มลงไปถึงพื้น
สั่นไม่หาย
จิตออกตอนไหน รู้ไหม
ห้ามความคิดไม่ได้ เป็นธรรมชาติของจิต
ต้องคอยกำหนดซ้ำ ๆ ซาก ๆ อย่าท้อแท้
กำหนดบ่อย ๆ จะรู้ว่าจิตออกไปตอนไหน
คอยระวังมาก เพ่งมากก็ไม่ดีนะ ตึงไป
การหายใจเข้าออกยาวหรือสั้นนั้น ไม่สำคัญ สำคัญที่กำหนดได้ปัจจุบันหรือไม่
พองยุบเลือนลาง แผ่วเบา ตื้อ ไม่พองไม่ยุบ
กำหนดพองหนอ ยุบหนอ จับให้ได้ว่ามันหายไปตอนไหน
จิตคิด ฟุ้งซ่าน สับสนอลหม่าน มีประโยชน์
พองหนอ ยุบหนอแล้วเหนื่อย
สมาธิมากกว่าสติ
อาการวูบ/ผงะ
เกิดปีติ ขนลุกขนพอง
นั่งแล้วสบาย ไม่มีอะไรมารบกวน จะไม่ได้อะไร ครูไม่มาสอน จะสอบตก
มีตัวอะไรไต่หน้า ตอมโน่นนี่ คันโน่นนี่ ต้องกำหนดให้รู้จริง
นอนสมาธิ
จับหลับ
จิต สติ และการกำหนด
จิตเท่านั้นที่รวบรวมบุญกุศลไว้ เหมือนเทปบันทึกเสียง
บุญกรรมมีจริง บาปกรรมมี ยมบาลจดไม่มี จิตนี้เป็นผู้จด จดทุกวัน
ดวงหทัย หายใจเข้าออกอยู่ที่ลิ้นปี่ (กึ่งกลางระหว่างจมูกกับสะดือ)
ทำไมต้องกำหนดที่ลิ้นปี่
ลิ้นปี่เป็นขั้วแบตเตอรี่ชาร์จไฟฟ้าเข้าหม้อ
สติคือตัวกำหนด ไม่ใช่ตัวบังคับจิต
คำว่า ปัจจุบัน
ทำกรรมฐานไม่ได้ เพราะไม่ได้กำหนด
ธรรมชาติของจิต
การกำหนดนี่ตัวฝืนใจ เป็นตัวธรรมะ เป็นตัวปฏิบัติ
กำหนดจิต อย่าหายใจทิ้ง เหมือนเปิดน้ำประปาทิ้ง ไม่มีประโยชน์
สติกำหนดจิต ทำให้ไม่ประมาท
หนอ...ตัวนี้เป็นการรั้งจิตให้มีสติดี
จิตอยู่ตรงไหน พัฒนาให้ถูก
วิธีฝึกเบื้องต้น จิตยังไม่เข้าขั้น ให้พยายามกำหนดให้ต่อเนื่อง
เจ็บปวดที่ไหน ต้องตามกำหนด ใช้สติไปควบคุม ไม่ใช่กำหนดเพื่อให้หายเจ็บปวด
อุเบกขาเวทนา ใจลอยหาที่เกาะไม่ได้ ต้องกำหนด
เห็นหนอส่งกระแสจิตไว้ที่หน้าผาก (อุณาโลม)
อดีต อนาคต ไม่เอา เอาปัจจุบัน
ต้นจิต คือ ตัวอยาก อยากหยิบหนอ ๆ นี่ต้นจิตเป็นเจตสิกเอาไว้ทีหลัง
การปฏิบัติหากรู้ว่าทำกรรมอะไรไว้ ต้องกำหนด ไม่ให้ฟุ้งซ่านอยู่ในกรรมนั้น
สติปัฏฐาน ๔ มีอะไรเกิดขึ้น ให้กำหนด ไม่ปล่อยให้ดิ่งไปเฉย ๆ
ทุกสิ่งทุกอย่างเหมือนครูมาสอน...
เราต้องเรียน คือ กำหนดจิตใช้สติตลอดเวลา
ปวดหนอ กำหนดให้ได้ ตายเป็นตาย
ตัวธรรมะอยู่ที่ทุกข์ ถ้าไม่ทุกข์จะไม่รู้อริยสัจ ๔
ปวดหนอตั้งสัจจะ อดทน ฝืนใจ
เก็บอารมณ์
อารมณ์รั่ว
นอนกำหนดพองหนอยุบหนอ สติดีจะนอนไม่หลับ
โกรธ เสียใจ ต้องกำหนด อย่าให้ค้างคืน
อธิษฐานจิต อโหสิกรรม แผ่เมตตา อุทิศส่วนกุศล
อธิษฐานจิต อโหสิกรรม แผ่เมตตา และอุทิศส่วนกุศล ทำตอนไหน
อธิษฐานจิต อโหสิกรรม แผ่เมตตา และอุทิศส่วนกุศล วางจิตอย่างไร
อธิษฐานจิต คืออะไร
การแผ่ส่วนกุศล และอุทิศส่วนกุศลต่างกัน
จะอุทิศ หรือ แผ่ส่วนกุศล ต้องมีทุนก่อน คือ มีบุญกุศล
จะช่วยคนไหน ให้เขาช่วยตัวเองก่อน
จะเอากำไรให้ใคร ต้องเอาทุนไว้ก่อน
แผ่เมตตา ต้องมีเมตตาครบอย่างต่ำ ๘๐ % จึงจะได้ผล
เวลาใครตายจะอุทิศส่วนกุศล ไม่มีอะไรดีเท่ากรรมฐาน
การแก้กรรมที่ยอดเยี่ยมที่สุดคือการเจริญกรรมฐาน
บทแผ่เมตตา
บทอุทิศส่วนกุศล (บทกรวดน้ำ)